


ไวอากร้า ไม่ใช่ยาเสียสาว แต่จะเที่ยวกลางคืนยังไงให้ปลอดภัย

ดูแลอวัยวะเพศชายให้สะอาด และกระตุ้นด้วย ไวอากร้า ก่อนมีเซ็ก

หากกิน ไวอาก้า ยาจะออกฤทธิ์ได้นานแค่ไหน

เซ็ก ไวอาก้า และอารมณ์ทางเพศของผู้หญิง

เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุร่างกายย่อมเสื่อมลงไปตามกาลเวลา ซึ่งแต่ละคนจะเปลี่ยนแปลงไม่เท่ากัน ด้วยปัจจัยที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธุ์ โรคหรือความเจ็บป่วย ตลอดจนพฤติกรรมการใช้ชีวิตทั้งอาหารความเครียด
ปัจจุบัน พฤติกรรม การนอนหลับพักผ่อน การออกกำลังกาย เพราะฉะนั้นการรู้ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากความเสื่อมจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเพื่อจะได้ดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง หรือเลือกใช้ ไวอากร้า เพื่อเป็นทางออกที่ง่ายกว่า
ปัญหาสุขภาพจิตคือปัญหาสำคัญในวัยสูงอายุ โดยเฉพาะโรคซึมเศร้ามีโอกาสเป็นได้มากกว่าวัยอื่น เพราะการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและบทบาทในสังคม อาทิ ผมขาว ผิวหนังเหี่ยวย่น นั่งและยืนนานๆไม่ได้ เป็นต้น หากผู้สูงอายุรับไม่ได้กับภาวะที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ส่งผลให้เกิดอาการเบื่อหน่าย หมดกำลังใจ
ขาดความรัก รู้สึกว่าไม่มีคุณค่าและไม่มีใครต้องการ
ภาวะสมองเสื่อมสามารถเกิดขึ้นได้กับผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป ส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการรู้คิด (Cognitive Function) ซึ่งเป็นกระบวนการรับรู้ เรียนรู้ และวิเคราะห์ข้อมูล เนื่องจากสมองทำหน้าที่ผิดปกติไปจากเดิม เสื่อมลง
จากการที่อายุมากขึ้น โรคต่างๆ อาทิ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ซึมเศร้า โรคทางระบบประสาท รวมถึงพันธุกรรมก็มีส่วนด้วยเช่นกัน
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศนั้นเป็นปัญาหาใหญ่สำหรับผู้สูงอายุมากแพราะว่าด้วยตัวน้องชายไม่แข็งแรงแล้วยังไม่แข็งอีกด้วย ปัญหานี้อาจจะมองว่าเล็กสำหรับใครบางคนแต่ปัญหานี้ผู้สูงอายุให้ความสนใจมาก
แต่ต้องเข้าใจก่อนกว่าทุกอย่างเป็นไปตามกาลเวลา แต่สิ่งหนึ่งที่สามารถยืดได้นั้นก็คือตัวยาไวอากร้านั่นเอง ยาในสมัยนี้ที่ทำให้แข็งก็คงต้องเป็นพวก อาหารเรียกความฟิตให้น้องชาย
ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงกล้ามเนื้ออ่อนแรง เพราะจำนวนขนาดและเส้นใยของกล้ามเนื้อบวกกับกำลังการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง ทำให้เคลื่อนไหวไม่คล่องตัว ซึ่งอาการอ่อนแรงมีหลายระดับ ตั้งแต่กำมือแน่น กำมือไม่แน่น ไปจนถึงการยกขา
บางคนเมื่อเป็นแล้วอาจมีอาการช่วงสั้นๆ แล้วหายไป แต่บางครั้งไม่มีสัญญาณเตือนและมีอาการรุนแรงได้เช่นกัน ดังนั้นการหมั่นสังเกตและตรวจเช็กกับแพทย์เฉพาะทาง อย่างการตรวจประเมินกำลังกล้ามเนื้อขา ด้วยการตรวจ Five Time Sit to Stand จะช่วยให้ได้รับคำปรึกษาที่เหมาะสมและรับมือได้ทันท่วงที
สมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุจะเสื่อมลงตามวัย โดยเฉพาะการเดินที่ช้าลง การก้าวเท้าที่สั้นลง เนื่องจากความเสื่อมของเนื้อเยื่อข้อกระดูกและกล้ามเนื้อ การประหยัดพลังงานที่ใช้ในการยืน เดิน อีกทั้งเมื่อผู้สูงอายุเจ็บป่วยจนต้องนอนโรงพยาบาลบางครั้งไม่สามารถเดินได้ ดังนั้นการออกกำลังกายด้วยการเดินวันละ 20 – 30 นาทีทุกวัน โดยใส่เครื่องพยุง เช่น ข้อเท้าและข้อเข่า เลือกรองเท้าที่เหมาะกับการเดิน
เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้นความอึดย่อมลดลง ยกตัวอย่างเช่น เมื่ออายุ 25 ปี และอายุ 35 ปีขณะที่ขึ้นบันไดในจำนวนขั้นที่เท่ากัน ความอึดอาจไม่เท่ากัน ในวัย 35 ปีอาจจะรู้สึกเหนื่อยง่ายมากขึ้นและอดทนได้น้อยกว่า เป็นต้น เพราะฉะนั้นการออกกำลังกายเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อ อย่างการเดินเร็วหรือวิ่งเหยาะ ๆ จะช่วยเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนเลือด
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการ ทำงานของระบบของผู้สูงอายุนั้นค่อยๆลดลง แต่เราสามารถทำให้มันลดลงอย่างแข็งแรงได้ และสามารถชะลอลงได้ด้วยตัวเอง